เลี้ยงกับในกระชังเพื่อการส่งออก - กระชัง ปลา-กบ

เราคือ ผู้ผลิต และ จัดจำหน่าย ระชังเลี้ยงปลา-ก
เราคือ ผู้ผลิต และ จัดจำหน่าย กระชังปลา-กบ
เราคื ผู้ผลิต และ จัดจำหน่าย  กระชังเลี้ยงปลาสำเร็จรู
กระชังบกสำหรับเลี้ยงกบ บ่อปลาสำเร็จรูป กระบะเลี้ยงจิ้งหรีด

เราคือ ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย  กระชังเลี้ยงปลาสำเร็จรูปกระชังบกสำหรับเลี้ยงกบบ่อปลาสำเร็จรูปกระบะเลี้ยงจิ้งหรีด

Go to content

เลี้ยงกับในกระชังเพื่อการส่งออก

บทความ > การเลี้ยงกบ
การเลี้ยงกบในกระชังเพื่อการส่งออก
คำแนะนำจากนักวิชาการเลี้ยงกบในกระชังอย่างได้ผล

กบเป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งนำ สามารถอาศัยอยู่ได้ทั้งบนบกและในน้ำ กบเป็นสัตว์ที่ คนไทยเรามีความคุ้นเคยและเป็นที่รู้จักกันมา นานแล้ว คนไทยในอดีตสามารถจับกบที่อยู่ อาศัยตามแหล่งน้ำตามธรรมชาติมาเป็น อาหาร หรือจำหน่ายเป็นสินค้า แต่ในปัจจุบันแหล่งที่เคยจับกบดังกล่าวเหลือน้อยเต็มทีเนื่องจากเพราะสภาพสิ่งแวดล้อมได้ถูกเปลี่ยนแปลงจากน้ำมือของมนุษย์เรานี่เอง และอีกอย่างการเพิ่มอัตราของประชากร ก็ นับวันที่จะมีแต่ทวีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อ เนื่อง สิ่งหนึ่งที่จะมีมาตามควบคู่อย่างไม่มีทางเลี้ยงนั้นก็คือ การปลูกสิงก่อสร้างที่อยู่ อาศัยของมนุษย์ ก็จะเป็นการรุกล้ำเข้าไปใน แหล่งของธรรมชาติเหล่านี้ล้วนทำให้สัตว์ ต่างๆ รวมไปกบด้วย ก็จะค่อยๆ ลดจำนวน ประชากรกบน้อยลงตามลำดับ

จากเหตุผลดังกล่าว ปัจจุบันอาชีพการ เลี้ยงกบเป็นอาชีพหนึ่งที่เกษตรกรได้หันมาให้ ความสนใจ และกระแสการตอบรับเป็นอย่าง ดียิ่งการเลี้ยงกบให้ประสบผลสำเร็จนั้นไม่ใช่ เรื่องยากเพียงแต่เรามีความตั้งใจอย่างจริงจัง ที่จะเลี้ยงผสมผสานกับการนำเอาเทคนิค ใหม่ๆ เข้ามาใช้ ก่อนที่จะทำการเลี้ยง ควรได้ ศึกษาจากตำรา และจากเกษตรกรที่ประสบ กับความสำเร็จ นำประสบการณ์ที่ได้มาผสม ผสานกับความคิดของตนเอง โดยเริ่มจาก การนำเอาปัญหาการเลี้ยงกบจากเกษตรกร รายอื่นนำมาวิเคราะห์เพื่อจะเป็นแนวทางนำ ปัญหามาแก้ไข และประยุกต์ใช้ในการเลี้ยง กบของตัวเอง จากการวิเคราะห์พบว่า ปัญหา ของเกษตรกรส่วนใหญ่แล้ว มักพบปัญหาที่ คล้ายคลึงกัน คือ ลูกกบมีราคาแพง ต้นทุน การสร้างบ่อสูง น้ำใหม่เข้าแทนที่ ขั้นตอนใน ช่วงนี้ต้องมีความระวัง และควรทำอย่างช้าๆ เพื่อป้องกันเพื่อไม่ให้ลูกอ๊อดเกิดการตื่นน้ำใหม่ หลังจากเปลี่ยนถ่ายนำเสร็จแล้ว ก็สามารถให้อาหารโดยใช้ไข่ตุนหรืออาหาร ปลาดุกเล็ก แช่น้ำพอหมาดแล้วปั้นเป็นก้อน ให้กินวันละ 2 ครั้ง โดยใช้เวลา 25-35 วัน ลูก อ๊อดก็จะกลายเป็นลูกกบอายุลูกกบขนาดนี้ก็ สามารถให้อาหารลูกกบได้ และทำการคัด เลือกขนาดไปเลี้ยงอีกบ่ออื่น เพื่อลดปริมาณ ความหนาแน่น และป้องกันการกินกันเอง

การเลี้ยงกบในกระชัง สามารถทำได้ไม่ยาก ทำได้โดยการใช้อวนเขียวเย็บต่อกันเป็น รูปกระซัง ส่วนขนาดแล้วแต่ความต้องการของผู้จะเลียง เช่นถ้าขนาดกว้าง X ยาว X สูง2.5 x 3 x 1.2 เมตร ก็สามารถนำกบปล่อย ลงเลี้ยงได้ 300 ตัว รอบๆ กระชังให้ปิดด้วย วัสดุพรางแสง เพื่อป้องกันการกบมองเห็น ภายนอก มิฉะนั้นกบจะกระโดดหนี ส่วนด้าน บนของกระชัง ก็ควรปิดด้วยวัสดุพรางแสง เช่นกัน แต่ไม่ต้องปิดให้หมด ควรให้เหลือ 1 ใน 3 ของพื้นที่ทั้งหมดของกระชัง ให้ก้น กระชังลึกลงไปอยู่ในน้ําประมาณ 20 ซม. ตัว กระชังจะอยู่เหนือผิวน้ำประมาณ 1 เมตร ในกระชังควรใส่จำพวกพืชนำลงไปได้ด้วยอย่าง เช่นผักบุ้ง ผักตบ เพื่อเป็นที่หลบซ่อนกำบังตัวพืชน้ำเหล่านี้นอกจากสามารถช่วยไม่ให้ อุณหภูมิของนำสูงหรือร้อนเกินไป ซึ่งจะมีผลต่อการกินอาหารของกบด้วย และที่สำคัญพืช อาหารมีราคาแพง และปัญหาโรคระบาด จึง ทำให้เกิดแนวทางแก้ไขของปัญหาเหล่านี้น่า จะไม่ยาก ถ้าเรามี วิธีการเลี้ยง และการ จัดการที่ดีตลอดจนหาวิธีการมาแก้ไขปัญหา เหล่านี้

No comments
Back to content