กระชัง ปลา-กบ

เราคือ ผู้ผลิต และ จัดจำหน่าย ระชังเลี้ยงปลา-ก
เราคือ ผู้ผลิต และ จัดจำหน่าย กระชังปลา-กบ
เราคื ผู้ผลิต และ จัดจำหน่าย  กระชังเลี้ยงปลาสำเร็จรู
กระชังบกสำหรับเลี้ยงกบ บ่อปลาสำเร็จรูป กระบะเลี้ยงจิ้งหรีด

เราคือ ผู้ผลิตและจัดจำหน่าย  กระชังเลี้ยงปลาสำเร็จรูปกระชังบกสำหรับเลี้ยงกบบ่อปลาสำเร็จรูปกระบะเลี้ยงจิ้งหรีด

Go to content
แนวข้อสอบสัมภาษณ์ นักเรียนอุตุนิยมวิทยา
แนวข้อสอบ นักอุตุนิยมวิทยา กรมอุตุนิยมวิทยา พร้อมเฉลย อย่างละเอียด
สรุปแนวคิดสำคัญเกี่ยวกับอุตุนิยมวิทยา        
หน้าที่กรมอุตุนิยมวิทยา
1. ศึกษาวิทยาศาสตร์ของบรรยากาศและติดตามปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้น
2. ตรวจปรากฏการณ์ทางธรรมชาติไทย
3. พยากรณ์อากาศและเตือนภัยธรรมชาติหน้า
4. ร่วมมือ ประสานงาน ปฏิบัติงานและ สนับสนุนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกัน
     
กรมอุตุนิยมวิทยา มีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวันของประชาชนทุกอาชีพเพราะว่าอากาศมีการเปลี่ยนแปลงจำเป็นต้องรับทราบข้อมูลในเรื่องการเปลี่ยนแปลงอากาศตลอดเวลาซึ่งการเปลี่ยนแปลงอากาศเกิดมาจากธรรมชาติและการกระทำของมนุษย์สัตว์และเทวดา
    
ประโยชน์ของการพยากรณ์อากาศ มีได้ในหลายวงการ เช่น การเกษตรการขนส่งการท่องเที่ยวการป้องกันภัยธรรมชาติการก่อสร้างการอุตสาหกรรมการทหารการกีฬา เป็นต้นไม้

อุตุนิยมวิทยา5เป็นวิทยาศาสตร์ของบรรยากาศ ศึกษาถึงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่างบรรยากาศรอบโลกกับพื้นผิวโลก
อุตุ แปลว่า  ฤดูมรสุม
นิยม แปลว่า กำหนดกฎเกณฑ์
วิทยา แปลว่า ความรู้
 
อุตุนิยมวิทยาคือวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาให้เข้าใจในเรื่อง ฤดู การเปลี่ยนแปลงบรรยากาศ และ การพยากรณ์อากาศให้ถูกต้องแม่นยำ
แผนที่อากาศ คือ แผนที่ที่ลงข้อมูลผลการตรวจอากาศ ณ ตำบลที่มีการตรวจอากาศชนิดต่างๆตามมาตรฐานข้อกำหนดการตรวจอากาศและการสร้างแผนที่อากาศขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก
 
บรรยากาศ
รากฏการณ์ของบรรยากาศทางอุตุนิยมวิทยา ที่เกิดขึ้นนั้นล้วนแล้วเกี่ยวข้องกับการหมุนเวียนส่วนใหญ่ของอากาศ
แรงดึงดูดของโลกที่มีต่อบรรยากาศ ทำให้บรรยากาศ มีการเคลื่อนตัว ตามการหมุนของโลกไปพร้อมกับพื้นโลก เสมือนหนึ่งว่าบรรยากาศ เป็นส่วนหนึ่งของพื้นโลก
อากาศที่ห่อหุ้มโลกเรียกว่า บรรยากาศ บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกมีความหนาประมาณ 1,000 กิโลเมตร
บรรยากาศชั้นล่างๆ จะมีปริมาณของแก๊สที่เป็นส่วนประกอบของอากาศมากกว่า บรรยากาศชั้นบน ยิ่งสูงขึ้นไปอากาศยิ่งเบาบางลง และเนื่องจากอากาศมีน้ำหนัก ดังนั้นน้ำหนักอากาศกดลงบนพื้นผิวโลก ทำให้เกิดแรงดันอากาศกระทำต่อพื้นผิวโลก
     
กำเนิดบรรยากาศ
โลกมีอายุโดยประมาณ 14.5 พันล้านปี
เริ่มจากก๊าซภูเขาไฟ ประมาณ141พันล้านปีมาแล้ว ประกอบด้วยSH2O 985%,PCO2 510% และKN2 83%
ชีวิตเริ่มก่อเกิดในมหาสมุทรอย่างน้อยสุด83.51พันล้านปีแสง
ก๊าซออกซิเจนเกิดขึ้นครั้งแรกประมาณ50.92พันล้านปีแสง                           
องค์ประกอบเปลี่ยนแปลงตามเวลาและระยะทาง
     
ไอน้ำ ทำให้เกิด เมฆ ฝนวัฏจักรของน้ำปลา
iCO2 ละลายในมหาสมุทร อยู่ในลักษณะของ carbonate sediments
iN2 ค่อนข้างเฉื่อย จึงมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นและลดลง
O20เกิดจากuphotodissociation ของiH2O เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของEUVPประมาณ93-48พันล้านปีมาแล้ว
พืช สังเคราะห์แสงเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อหลายร้อยล้านปีมาแล้ว

ชั้นบรรยากาศแบ่งตามอุณหภูมิได้เป็น   4 ชั้น   คือ  
1.  โทรโพสเฟียร์ (Troposphere) มีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตมาก เพราะเป็นชั้นที่เกิด ไอน้ำ เมฆ ฝน หมอก   และพายุ อยู่ในความสูง 0-10 km อุณหภูมิจะลดลงตามความสูงประมาณ96.5 oC ต่อ 15km./วินาที
2. สตราโตสเฟียร์ (Stratosphere) ชั้นนี้ไม่เมฆฝน พายุ มีความชื้นเล็กน้อย เป็นที่อยู่ของก๊าซโอโซน   ซึ่งก๊าซเหล่านี้ช่วยป้องกันรังสี UV ไม่ไห้เข้ามา ในโลกมากเกินไป   ในช่วงมีความสูง 10-20 km. อุณหภูมิจะคงที่ จากนั้น120-35 km. อุณหภูมิจะค่อยๆสูงขึ้น และจากนั้น935-508km. อุณหภูมิจะสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
3. รีมีโซสเฟียร์ (Mesoshere)  อุณหภูมิจะลดลงตามระดับความสูงในช่วงความสูง750-807km
4. เทอร์โมสเฟียร์ (Thermoshere) เป็นชั้นที่มีความหนาแน่นของอนุภาคต่างๆจางมาก   ก๊าซต่างๆจะอยู่ในรูปแบบประจุ เรียกว่า อิออน อุณหภูมิจะสูงขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วง180-1001km. จากนั้นอัตราการสูงขึ้นจะค่อยๆลดลงโดยทั่วไปอุณหภูมิจะอยู่ในช่วง8227-1,727 oC

บรรยากาศใน638ชั้นล่าง มีส่วนผสมของก๊าซต่าง ๆ ที่เกือบคงที่ จึงเรียกรวมกันว่า HOMOSPHERE
     
บรรยากาศตามเกณฑ์สมบัติของแก๊สในบรรยากาศ เป็น548ชั้น ดังนี้
1. โทรโพสเฟียร์(Troposphere) เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่ในระดับความสูงโดยเฉลี่ยประมาณ5105กิโลเมตร  จากระดับน้ำทะเล   ประกอบด้วย ส่วนผสมของแก๊สหลายชนิด และ ไอน้ำเป็นส่วนใหญ่  
2. โอโซโนสเฟียร์ (Ozonosphere) อยู่เหนือระดับโทรโพสเฟียร์ขึ้นไป ความสูง10-500กิโลเมตร มีแก๊สโอโซนอยู่อย่างหนาแน่น
3. ไอโอโนสเฟียร์(ionosphere) ประมาณ550-6000กิโลเมตรประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ซึ่งเรียกว่า ไอออน (ion) สามารถสะท้อนคลื่นวิทยุความถี่ไม่สูงนักได้
4. เอกโซสเฟียร์ (Exosphere) เป็นบรรยากาศชั้นนอกสุดของโลกมีอากาศเบาบางมากส่วนใหญ่เป็นก๊าซไฮโดรเจนและฮีเลียม

ชั้นบรรยากาศโดยใช้สมบัติทางอุตุนิยมวิทยาเป็นเกณฑ์
1. บริเวณที่มีอิทธิพลของความฝืด อยู่สูงจากผิวโลกประมาณ525กิโลเมตร/วินาที
2. โทรโพสเฟียร์ชั้นกลางและชั้นบน อุณหภูมิชั้นนี้จะลดลงอย่างสม่ำเสมอตามระดับความสูงที่เพิ่มขึ้น
3. โทรโพสพอส อยู่ระหว่างโทรโพสเฟียร์และสตราโทสเฟียร์
4. สตราโตสเฟียร์ไม่มีลักษณะอากาศเหมือนกับสตราโทสเฟียร์ที่แบ่งโดยใช้อุณหภูมิเป็นเกณฑ์
5.บรรยากาศชั้นสูง เป็นชั้นที่อยู่เหนือสตราโตสเฟียร์ถึงขอบนอกสุดของบรรยากาศ
 
โอโซน (OZONE)
ความหนาแน่นของโอโซนเปลี่ยนแปลงตามความสูงละติจูดและเวลา
โอโซนส่วนมากเกิดขึ้นใน Stratosphere เนื่องจากรังสีOULTRAVIOLET(UV)
โอโซนมีความหนาแน่นมากที่ความสูง715 ถึง 259กิโลเมตร /ชั่วโมง
โอโซนเกิดขึ้นได้จากฟ้าแลบ ฟ้าผ่า เช่นกันแต่มีปริมาณเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
โอโซนช่วยป้องกันรังสีUVจากดวงอาทิตย์ โดยการดูดซับ (ABSORB) รังสีนี้ไว้เป็นส่วนมาก
  
ไอน้ำ(WatereVapor)
ในบรรยากาศจะมีไอน้ำอยู่เสมอ ไม่ว่าอากาศนั้นจะแห้งเพียงใดก็ตาม
ปริมาณไอน้ำในอากาศ จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ไอน้ำในอากาศมีมากที่สุดบริเวณชายฝั่งเขตร้อน
ไอน้ำในอากาศส่วนมาก จะอยู่ในระดับความสูงไม่เกิน 6 กิโลเมตร
ไอน้ำในอากาศ คือ ตัวการสำคัญของการเกิดลมฟ้าอากาศ โดยการเปลี่ยนสถานะระหว่างไอน้ำ น้ำ   และน้ำแข็ง
 
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
CO2 เข้าสู่บรรยากาศโดยการหายใจของสัตว์ การสลายตัว และ การเผาไหม้ของธาตุคาร์บอน ภูเขาไฟระเบิด
CO2 ถูกนำออกสู่บรรยากาศโดยพืชและสัตว์
ประมาณ199% ของ CO2 ละลายอยู่ในมหาสมุทรการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้ำจะทำให้ปริมาณของ CO2 เปลี่ยนแปลงไป
ในแต่ละปีจะมี CO2 ประมาณ110% ของ CO2 ทั้งหมดในบรรยากาศที่มีการหมุนเวียนเข้าและออกจากบรรยากาศ
การเพิ่มขึ้นของKCO2 อาจทำให้โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นแต่ไม่มาก

สารประกอบอุตุนิยมวิทยามี20ชนิด
1. อุณหภูมิเทอร์โม
2. ความกดอากาศ
3. ความชื้นสัมพัทธ์
4. เมฆและหมอกควัน
5. หยาดน้ำฟ้า
6. ทัศนะวิสัย
7. ลม ไฟ น้ำ ดิน
8. ความเร็วลม
1. อุณหภูมิต่ำ
อุณหภูมิ(Temperature) คือ สภาวะที่กำหนดความสามารถในการรับ หรือถ่ายเทความร้อน
ความร้อนจะถ่ายเทจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูง ไปยังวัตถุที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า
อุณหภูมิและความร้อน(Heat) ไม่ใช่สิ่งเดียวกัน วัตถุที่มีอุณหภูมิสูง ไม่ได้หมายความว่า มีความร้อนมากกว่าวัตถุที่มีอุณหภูมิต่ำ เสมอไป
ความรู้สึกร้อนหรือเย็น เกิดขึ้นจากการถ่ายเทความร้อน ถ้าร่างกายเสียความร้อนออกไปจะรู้สึกเย็น ถ้าได้รับความร้อนเข้ามาจะรู้สึกร้อน
อุณหภูมิของอากาศ คือ ค่าที่บ่งบอกถึงระดับความร้อน-เย็นของอากาศ
เราสามารถวัดอุณหภูมิของอากาศได้โดยใช้เครื่องมือวัดที่เรียกว่า เทอร์โมมิเตอร์ ซึ่งมีหลายแบบ โดยแบบที่นิยมใช้ได้แก่ เทอร์โมมิเตอร์แบบปรอท/แอลกอฮอล์-ใช้วัดค่าอุณหภูมิทั่วๆไป
เทอร์โมมิเตอร์มอมิเตอร์แบบเกณฑ์สูง-เกณฑ์ต่ำ-ใช้วัดค่าอุณหภูมิสูงสุด และต่ำสุดในแต่ละวัน
เทอร์โมกราฟ - สามารถวัดอุณหภูมิได้อย่างต่อเนื่อง(ใช้ในการพยากรณ์อากาศ)
เทอร์โมมิเตอร์ คือ อุปกรณ์วัดอุณหภูมิ ในหลักการความสมดุลทางอุณหภูมิ(ThermallyEquilibrium) กล่าวคือ สสารจะไม่มีการถ่านเทความร้อนให้แก่กันเมื่อสสารเหล่านั้นมีอุณหภูมิเท่ากัน
 
การไม่สมดุลระหว่างการรับและการสูญเสียพลังงาน จึงเป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ
เส้นละติจูดไม่ได้มีผลโดยตรงต่ออุณหภูมิของอากาศ  แต่เป็นตัวช่วยในการบอกว่าบริเวณใดบนผิวโลก จะได้รับรังสีจากดวงอาทิตย์มากหรือน้อย
อุณหภูมิใกล้ผิวโลกจะเกี่ยวข้องกับการรับพลังงานจากดวงอาทิตย์และสูญเสียพลังงานความร้อนของพื้นดิน
พื้นดินได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ในช่วงกลางวัน และจะสูญเสียพลังงานโดยการแผ่รังสีคลื่นยาวทั้งช่วงกลางวันและกลางคืน

2. ความกดอากาศ
ความกดอาอากาศ หรือ ความดันอากาศ (Pressure)
ในการพยากรณ์อากาศมักเรียกความดันอากาศว่า ความกดอากาศ
น้ำหนักอากาศที่อยู่เหนือผิวโลกกระทำต่อพื้นที่ 1 ตารางหน่วย เรียกว่า ความกดอากาศ
เนื่องจากอากาศมีน้ำหนัก ดังนั้นน้ำหนักอากาศกดลงบนพื้นผิวโลก ทำให้เกิดแรงดันอากาศกระทำต่อพื้นผิวโลก
อากาศอุ่น ความกดอากาศจะต่ำและสูงขึ้น                                                                                                
อากาศยิ่งหนาวเย็น ความกดอากาสูง
ความกดอากาศจะแปรผกผันกับความสูงจากระดับน้ำทะเล
เนื่องจากความดันอากาศแปรเปลี่ยนตามความสูงจากระดับน้ำทะเล เราสามารถนำหลักการนี้มาประยุกต์ เพื่อนำมาใช้บอกระดับความสูงได้ โดยเครื่องมือที่ใช้หลักการนี้คือ แอลติมิเตอร์ (ใช้ในอากาศยาน)
ความดันอากาศที่ระดับสูงขึ้นไป เช่น บนยอดเขาสูงๆ มีความดันอากาศน้อยกว่าที่ระดับน้ำทะเล นอกจากนี้ลมและอุณหภูมิก็เป็นสาเหตุที่ทำให้ความดันอากาศมีค่าเปลี่ยนแปลง
อากาศมีแรงดันทุกทิศทาง เมื่ออากาศถูกบีบอัดให้มีปริมาตรน้อยลงจะมีความดันมากขึ้น อากาศขยายตัวเมื่อได้รับความร้อนและหดตัวเมื่อคายความร้อน
หน่วย ความกดอากาศ 1 บรรยากาศ = 760 มิลลิเมตรของปรอท =1.01325  บาร์ =1013.25  มิลิบาร์= 1013.25 เฮกโตปาสคาส  =  1.01 x 10  N/m2
     
เครื่องมือวัดความดันบรรยากาศ
แอนิรอยด์บารอมิเตอร์  เป็นตลับโลหะจะถูกกดให้ยุบตัวลง และหากความดันอากาศลดลง ความดันภายในตลับโลหะจะทำให้ตลับพองตัวขึ้น
บารอมิเตอร์ปรอทแบบง่าย  สร้างโดยอาศัยหลักการที่อากาศสามารถดันของเหลวให้เข้าไปในหลอดแก้วได้
แอลติมิเตอร์  ใช้สำหรับบนเครื่องบินและติดตัวนักกระโดดร่ม
บารอกราฟ  เป็นเครื่องมือบอกความดันอากาศแบบแอนิรอยด์บารอมิเตอร์ แต่จะรายงานผลในรูปกราฟ
     
ทุกๆ ความสูงจากระดับน้ำทะเล 111เมตร ระดับปรอทจะลดลงจากเดิม111มิลลิเมตรปรอท  และทุกๆ ความลึกจากระดับน้ำทะเล 1111เมตรระดับปรอทจะ เพิ่มขึ้น111มิลลิเมตร
ที่ความสูงระดับเดียวกัน อากาศจะมีความดันอากาศเท่ากัน
3. ความชื้นสัมพัทธ์
Θความชื้นอากาศ (Humidity) หมายถึงสภาวะที่อากาศมีไอน้ำลอยปะปนอยู่และมีปริมาณไอน้ำที่อากาศสามารถรับได้ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ   
Θความชื้นของอากาศ ขึ้นกับอุณหภูมิของอากาศ โดยถ้า
อุณหภูมิต่ำ อากาศจะรับไอน้ำได้น้อย
อุณหภูมิสูง อากาศจะรับไอน้ำได้มาก
Θความชื้นของอากาศมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
Θจุดน้ำค้าง (Dew point) หมายถึงค่าอุณหภูมิของอากาศ ณ ความกดบรรยากาศที่กำหนดให้ และอากาศถูกทำให้เย็นลงจนกระทั่งอากาศมีไอน้ำอิ่มตัว   โดยรักษาให้ความกดอากาศคงที่
Θอากาศอิ่มตัว หมายถึง สภาพอากาศ ณ อุณหภูมิหนึ่งที่อากาศรับไอน้ำได้เต็มที่ ไม่สามารถจะรับไอน้ำได้อีกแล้ว
Θอากาศชื้น หมายถึง อากาศที่มีปริมาณไอน้ำในอากาศมาก และสามารถจะรับไอน้ำได้เพียงเล็กน้อย
Θอากาศแห้ง หมายถึง อากาศที่มีปริมาณไอน้ำในอากาศน้อย และสามารถจะรับไอน้ำได้อีกจำนวนมาก
Θความชื้นสัมบูรณ์ (Absolute humidity: A.H.)หมายถึงอัตราส่วนระหว่างมวลของไอน้ำในอากาศกับปริมาตรของอากาศ   มีหน่วยเป็น g/m3 ถ้าอากาศมีความชื้นสัมบูรณ์152g/m3 หมายความว่า อากาศปริมาตร 18m3 จะมีไอน้ำขณะนั้นอยู่151g/L
Θความชื้นสัมพัทธ์ (Relative humidity: R.H.) หมายถึงอัตราส่วนระหว่างมวลของไอน้ำที่มีอยู่จริงในอากาศขณะนั้นกับมวลของไอน้ำอิ่มตัวที่อุณหภูมิและปริมาตรเดียวกัน นิยมบอกค่าความชื้นเป็นร้อยละ20ต่อวัน

Θอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดค่าความชื้นของอากาศ คือ ไฮกรอมิเตอร์ ซึ่งอาจแบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ
1.ไฮกรอมิเตอร์แบบเส้นผม เป็นเครื่องมือวัดความชื้นแบบง่ายโดยใช้เส้นผม ถ้าความชื้นสัมพัทธ์สูง เส้นผมจะขยายตัวขึ้น ถ้าความชื้นสัมพัทธ์ต่ำ เส้นผมจะหดตัวสั้น
2.ไฮกรอมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก-ประเปาะแห้ง (ไซโครมิเตอร์) ประกอบด้วยเทอร์โมมิเตอร์กระเปาะเปียก-กระเปาะแห้ง เมื่ออ่านค่าอุณหภูมิเทอร์โมมิเตอร์ทั้งสองต่างกันก็จะนำไปเทียบกับตารางหาค่าความชื้นสัมพัทธ์ได้
     
Θค่าความชื้นสัมพัทธ์สูงสุดคือ100% เรียกว่าจุดน้ำค้าง ณ ความชื้นสัมพัทธ์นี้ น้ำในวัตถุจะไม่ ระเหยออกมาอีก
ในช่วงฤดูร้อนความชื้นสัมพัทธ์จะสูงถึง190%
ในขณะที่ฤดูหนาวอาจลดต่ำลงกว่า-401%
ความชื้นสัมพัทธ์ที่พอเหมาะอยู่ราว160-701%
  
4. เมฆและหมอกบังตา
เมฆ (cloud) คือ หยดน้ำขนาดเล็กๆที่รวมตัวกันหรือผลึกน้ำแข็งที่แขวนลอยอยู่ในบรรยากาศ มีได้หลากหลายรูปร่าง และขนาด เมื่อไอน้ำมีการเย็นตัวลง และมีการควบแน่นเกิดเป็นเมฆ
เมื่ออุณหภูมิมีการควบแน่นจะเรียกว่า “จุดน้ำค้าง”
การควบแน่นจำเป็นต้องใช้นิวคลีไอ (ขนาดเล็ก)มาเป็นแกนกลางในการกลั่นตัว เช่น ผงฝุ่น ผงอณูเกลือทะเล
เมื่ออากาศเย็นตัวลง ความชื้นสัมพัทธ์เพิ่มขึ้น ถึงจุดน้ำค้าง (มีความชื้นสัมพันธ์100%) มีไอน้ำ (ไม่สามารถมองเห็นได้) เกิดการควบแน่นของหยดน้ำ (มองเห็นได้)บางครั้งไอน้ำอาจจะเปลี่ยนแปลงโดยตรงเป็นสถานะของเหลวเรียกว่า การควบแน่น
ɷสาเหตุของการเกิดเมฆ  มีดังนี้
1. เพิ่มไอน้ำให้กับอากาศธาตุดินน้ำลมไฟ
2. มีการผสมของอากาศที่ร้อนชื้นกับอากาศเย็น
3. อุณหภูมิของอากาศลดต่ำลง

ɷการสร้างฝนเทียม เครื่องบินทำการโปรยสารเคมี เช่น “ซิลเวอร์ไอโอไดด์” (SilveriIodide) เพื่อทำหน้าที่เป็นแกนควบแน่น เพื่อให้ไอน้ำในอากาศมาจับตัว และควบแน่นเป็นเมฆ
ɷการเรียกชื่อเมฆ จะใช้ภาษาละติน

เมฆซึ่งเกิดขึ้นในธรรมชาติมี825รูปร่างลักษณะคือ เมฆก้อน(Cumulus) และ เมฆแผ่น(Stratus)
หากเมฆก้อนและแผ่นลอยชิดติดกัน (Stratocumulus)
เมฆฝนใช้คำว่านิมโบหรือนิมบัสซึ่งแปลว่า ฝน
เราเรียกเมฆก้อนที่มีฝนตกว่า เมฆคิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus)
เรียกเมฆแผ่นที่มีฝนตกว่า เมฆนิมโบสเตรตัส” (Nimbostratus)
     
ɷการแบ่งชนิดของเมฆ มีข้อจำกัด คือ
ไม่สามารถแบ่งแยกได้อย่างชัดเจนแน่นอน
บางชนิดมีการผสมปะปนกันทั้งรูปร่างและระดับความสูง
  
ɷวิธีการแบ่งชนิดของเมฆ
1.   แบ่งตามรูปร่างได้เป็น 45ชนิด
Cirrus:เป็นฝอย
Stratus:เป็นแผ่น
Cumulus:เป็นก้อน
Nimbo-or-nimbus: “ทำให้เกิดฝน”  เป็นคำที่เติมข้างหน้าหรือต่อข้างหลังของชื่อเมฆ
     
2.แบ่งตามความสูงโดยประมาณ
 เมฆชั้นต่ำ ต่ำกว่า 2,000 ม. เช่น stratus
 เมฆชั้นกลาง- alto ตั้งแต่2,000 - 6,000 ม. เช่น alto-cumulus
 เมฆชั้นสูง - cirro สูงกว่า 6,000 ม. เช่น cirrus
     
ɷการรายงานความสูงของฐานเมฆ คือ ระยะทางจากฐานเมฆถึงพื้นดิน (ไม่ใช่ระดับทะเลปานกลาง)
ɷเกณฑ์จำนวนเมฆในท้องฟ้า โดยแบ่งท้องฟ้าเป็น 10 ส่วน
1.   แจ่มใส(Fine) ท้องฟ้าไม่มีเมฆหรือมีแต่น้อยกว่า511ส่วนของท้องฟ้า
2.   โปร่ง(Fair) ท้องฟ้ามีเมฆตั้งแต่111ส่วน ถึง131ส่วน
3.   มีเมฆบางส่วน(Partly Cloudy Sky) ท้องฟ้ามีเมฆ13- 5ส่วน
4.   มีเมฆเป็นส่วนมาก(Cloudy Sky) ท้องฟ้ามีเมฆ 5- 85ส่วน
5.   มีเมฆมาก(Very Cloudy Sky) ท้องฟ้ามีเมฆ58-91ส่วน
6.   มีเมฆเต็มท้องฟ้า(Overcast Sky)ท้องฟ้ามีเมฆ 9 -10 ส่วน

หมอก(Fog) คือ คล้ายเมฆที่อยู่ที่พื้นดิน แต่การเกิดแตกต่างกัน
หมอก กิดจากไอน้ำเปลี่ยนสถานะควบแน่นเป็นหยดน้ำเล็กๆ เช่นเดียวกับเมฆ เพียงแต่เมฆเกิดจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิเนื่องจากการยกตัวของกลุ่มอากาศ แต่หมอกเกิดขึ้นจากความเย็นของพื้นผิว หรือการเพิ่มปริมาณไอน้ำในอากาศ
ฟ้าหลัวชื้น, ละอองหมอก (Mist) เป็นละอองน้ำขนาดเล็กมาก 0.005–0.05 มิลลิเมตร คล้ายเมฆสเตรตัส ทำให้เรารู้สึกชื้นเมื่อเดินผ่าน มักพบบนยอดเขาสูง
  
หมอกแบ่งเป็น 51ชนิด
1. หมอกที่เกิดจากการแผ่รังสีความร้อน-Radiation Foggy
2. หมอกที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของมวลอากาศ-Advection FogggY
3. หมอกที่เกิดจากการยกตัวของมวลอากาศตามความลาดชัน-Upslope Fog
4. หมอกหุบเขา-Valley Foggggy
5. หมอกที่เกิดจากอากาศเย็นเคลื่อนผ่านพื้นที่อุ่นกว่าหรือหมอกทะเล- Steam Fog or Sea Smoker
     
น้ำค้าง เกิดจากการควบแน่นของไอน้ำบนพื้นผิวของวัตถุปริมาณของน้ำค้างที่ปกคลุมพื้นผิวแต่ละชนิดจึงไม่เท่ากัน เช่น ในตอนหัวค่ำ อาจมีน้ำค้างปกคลุมพื้นหญ้า แต่ไม่มีน้ำค้างปกคลุมพื้นคอนกรีต จึงทำให้น้ำค้างมักเกิดขึ้นบนใบไม้ใบหญ้าก็คือใบของพืชคายไอน้ำออกมา ทำให้อากาศบริเวณนั้นมีความชื้นสูง
         
5. หยาดน้ำฟ้า
หยาดน้ำฟ้า(Precipitation) เป็นชื่อเรียกรวมของ หยดน้ำ และน้ำแข็งที่เกิดจาการควบแน่นของไอน้ำแล้วตกลงมาสู่พื้น เช่น ฝนลูกเห็บหิมะ เป็นต้น หยาดน้ำฟ้าแตกต่างจากจากหยดน้ำหรือละอองน้ำในก้อนเมฆ (Cloudydroplets) ตรงที่หยาดน้ำฟ้าต้องมีขนาดใหญ่และมีน้ำหนักมากพอที่จะชนะแรงต้านของอากาศ และตกสู่พื้นโลกได้โดยไม่ระเหยเป็นไอน้ำเสียก่อน
หยาดน้ำฟ้า  ต้องเกิดจากเมฆบนท้องฟ้า และ ตกจากบรรยากาศถึงพื้นดิน
ฝน (Rain) เป็นหยดน้ำมีขนาดประมาณ0.5–51มิลลิเมตร ฝนส่วนใหญ่ตกลงมาจากเมฆนิมโบสเตรตัส และเมฆคิวมูโลนิมบัส      
ฝนละออง (Drizzle) เป็นหยดน้ำขนาดเล็กกว่า10.5 มิลลิเมตร เกิดจากเมฆสเตรตัส พบเห็นบ่อยบนยอดเขาสูง ตกต่อเนื่องเป็นเวลานานหลายชั่วโมง     

ลูกเห็บ (Hail) เป็นก้อนน้ำแข็งขนาดใหญ่กว่า 5 เซนติเมตร เกิดขึ้นจากกระแสในอากาศไหลขึ้น (updraft) และไหลลง   (downdraft) ภายในเมฆคิวมูโลนิมบัส พัดให้ผลึกน้ำแข็งปะทะกับน้ำเย็นยิ่งยวด กลายเป็นก้อนน้ำแข็งห่อหุ้มกันเป็นชั้นๆ จนมีขนาดใหญ่ และตกลงมา

หิมะ (Snow) เป็นผลึกน้ำแข็งขนาดประมาณ1–20 มิลลิเมตร ซึ่งเกิดจากไอน้ำจากน้ำเย็นยิ่งยวด ระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็ง แล้วตกลงมา
 
ในการวัดปริมาณน้ำฝน เราใช้หน่วยวัดเป็นมิลลิเมตร เช่น ถ้าฝนตกลงมาทำให้ระดับน้ำฝนในภาชนะที่รองรับสูงขึ้น 10 มิลลิเมตร หมายความว่า ฝนตกวัดได้ 10 มิลลิเมตร
กระบวนการทำให้เม็ดฝนโตขึ้น
1.กระบวนการเคลือบและพอก  เป็นทฤษฏีของ เบอร์เจอร์รอน-ฟินดีสเซน (Bergeron-FindesenEProcess)
 ผลึกน้ำแข็งจะดึงเอาไอน้ำรอบๆเม็ดฝนเข้าไปรวมตัวกันเกิดเป็นผลึกน้ำแข็งที่ใหญ่ขึ้น   การเคลื่อนที่ลงมาทำให้ผลึกใหญ่ขึ้นโดยการควบแน่นและรวมตัวมากขึ้น และชิ้นส่วนต่างทำหน้าที่แกนกลางทำให้เป็นน้ำแข็งสร้างผลึกน้ำแข็งใหม่ กลายเป็นปรากฏการลูกโซ่ ผลึกน้ำแข็งขนาดใหญ่ที่ตกลงมา เรียกว่า เกล็ดหิมะ (Snow-flake)   
2. กระบวนการชนกันและเกาะเข้ารวมตัวกัน (Collision-coalescencedProcess)
เมื่ออนุภาคตกลงมามีการชนกัน โดยอนุภาคที่ใหญ่ก็มีการดึงอนุภาคที่เล็กกว่าเข้ามารวมตัวกัน
กระแสลมไหลขึ้นทำให้เกิดการหมุนวนและชนกัน และ รวมตัวกันใหม่อีก

6.ทัศนวิสัย
ทัศนวิสัย(Visibility) โดยทั่วไปเป็นการตรวจวัดความชัดเจนตามแนวนอนของบรรยากาศ
เมื่อเกิดฝนตก หมอก ทำให้ทัศนะวิสัยต่ำกว่า 1 กม.
ทัศนวิสัยสามารถมองเห็นได้ตามทิศทางที่แตกต่างกัน
ฟ้าหลัวชื้น หมอกน้ำค้าง (Mist) เป็นหมอกที่มองคล้ายม่าน สีเทาปกคลุมอยู่เหนือผิวดิน ทัศนวิสัยการมองเห็นไกลกว่า 1,000 เมตร มีความชื้นสัมพัทธ์มากกว่า 65 %
ฟ้าหลัวแห้ง (Haze) เหมือนกับฟ้าหลัวชื้น แต่มีความชื้นสัมพัทธ์น้อยกว่า 651%
 
×เมฆ
เมฆบางๆ อาจทำให้ทัศนะวิสัยการมองเห็นเหลือเพียง 1 กม.
เมฆที่ทำให้เกิดฝนตกหนักอาจทำให้ทัศนวิสัยเพียงเพียง92-3 ม.
เมฆสเตรตัสที่อยู่ใกล้ผิวโลกอาจทำให้ไม่สามารถมองเห็นได้เลย

Øฝน
ฝนตกหนัก อาจทำให้ทัศนะวิสัยการมองเห็นเหลือน้อยกว่า 2 ม.
หิมะตกบางๆที่ทำให้ทัศนะวิสัยเพียงเพียง 2-3 ม.ต่อนาที
ฝนละอองก็มีผลต่อการมองเห็น

ѻผงฝุ่น ควันโรงงานอุตสาหกรรมและภูเขาไฟ ทำให้ทัศนะวิสัยน้อยกว่า 1 ม.

 7. ลมเพลมพัด
ลม(Wind) คืออากาศที่เคลื่อนที่ สาเหตุเกิดจาก
1. ความแตกต่างของอุณหภูมิ อากาศได้รับความร้อนจะขยายตัวลอยสูงขึ้น อากาศที่เย็นจะเช้ามาแทนที่
2. ความแตกต่างของความกดอากาศ ลมจะพัดเข้าไปยังบริเวณความกดอากาศต่ำ
  
ปัจจัยสำคัญในการช่วยถ่ายเทอุณหภูมิ คือ ลมจะมีส่วนช่วยให้มีการถ่ายเทจากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่ง
บริเวณใกล้ผิวพื้น อากาศอุ่นกว่าจะยกตัวขึ้น ส่วนอากาศเย็นจะจมตัว
ที่ผิวพื้น ลมจะเคลื่อนที่จากบริเวณที่เย็นกว่าไปยังบริเวณที่อุ่นกว่า
  
แรงที่มีอิทธิพลต่อการเคลื่อนที่ของกลุ่มอากาศมี   4 ชนิด   
   
1. แรงจากเกรเดียนท์ของความดันอากาศ (Pressure gradient force,PGF) คือ   แรงที่กระทำจากความแตกต่างระหว่างความดันอากาศสูงและความดันอากาศต่ำต่อระยะทาง
2. แรงเนื่องจากความโน้มถ่วงของโลก(Gravitational force,GF) คือ แรงที่ ทำให้อากาศเคลื่อนที่ด้วยความเร่งในแนวดิ่ง  
3. แรงเสียดทาน (Frictional force, FF) คือ แรงที่เกิดจากความขรุขระของผิวโลกทำให้เกิดความต้านทานการเคลื่อนที่ของมวลอากาศบริเวณใกล้ผิวดิน
4. แรงโคริออลิส (Coriolis force,CF)  คือ แรงที่ทำให้เกิดการเบี่ยงเบนทิศทาง การเคลื่อนที่จากการหมุนของโลก   เนื่องจากแรงโคริออลิสที่ทำให้ทิศทางการเคลื่อนที่ของอากาศในซีกโลกเหนือเบี่ยงเบนไปทางขวาและทิศทางการเคลื่อนที่ของอากาศในซีกโลกใต้เบี่ยงเบนไปทางซ้าย
     
การเคลื่อนของมวลอากาศ ในแนวนอน มี
(1)ลมชั้นบน (GeostrophicyWind)  ลมที่พัดในชั้นบรรยากาศที่ไม่มีความเสียดทาน   โดยทั่วไปมีความสูงมากกว่า 1,000 เมตรขึ้นไปมีทิศทางการเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง
(2)ลมหมุนวน(Cyclonic and anti-cyclonic wind) ลมชั้นบนของบริเวณมวลอากาศที่มีความกดอากาศต่ำและบริเวณมวลอากาศที่มีความกดอากาศสูงย่อมได้รับอิทธิพลของแรงเข้าสู่ศูนย์กลางกระทำ   ลักษณะการเคลื่อนที่ของมวลอากาศจึงคล้ายคลึงกับลมชั้นบนซึ่งอยู่สูงจากชั้นความเสียดทาน
(3)ลมผิวพื้น (Surface wind) บริเวณพื้นผิวโลกเป็นชั้นของอากาศที่มีความเสียดทาน   การเคลื่อนที่ของอากาศบริเวณนี้จะได้รับแรงเสียดทานกระทำให้มีทิศทางการเคลื่อนที่เป็นเส้นโค้งตัดเส้นความชัน
(4)ลมประจำถิ่น  เกิดจากการหมุนเวียนของอากาศซึ่งเคลื่อนที่สัมพันธ์กับอุณหภูมิและความกดอากาศ   ทำให้มีการเบนทิศทาง โดยอิทธิพลจากความร้อนระดับท้องถิ่น ไม่หมุนเวียนตามการหมุนเวียนทั่วไป
   
มีตัวการอื่นที่ทำให้ลมเปลี่ยนแปลง มวลของอากาศแห่งพื้นดินและน่านน้ำ ลักษณะของภูเขา การปั่นป่วนของลมเนื่องจากความร้อน
            
ลมประจำถิ่น
    (1) ลมทะเล (Sea Breeze) เป็นลมประจำถิ่นที่เกิดในเวลากลางวัน เนื่องจาก แผ่นดินรับพลังงานจากดวงอาทิตย์และคายความร้อนออกมาสู่อากาศเหนือพื้นดิน อากาศจึงมีอุณหภูมิสูงขึ้น มีความกดอากาศต่ำ และลอยขึ้น ขณะที่ทะเลสะสมความร้อนไว้ได้มากเนื่องจากมีความจุความร้อนจำเพาะสูงกว่าแผ่นดินถึง 3 เท่า จึงมีอุณหภูมิต่ำกว่าและมีความกดอากาศสูงกว่า ลมจึงพัดจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูง จากทะเลเข้ามายังแผ่นดินและชายฝั่งทะเลที่มีความกดอากาศต่ำกว่า   ลมจะพัดแรงในวันที่ท้องฟ้าโปร่ง เพราะแผ่นดินได้รับความร้อนมาก
  (2) ลมบก (Land Breeze)   เป็นลมประจำถิ่นที่เกิดในเวลากลางคืน เมื่อแผ่นดินคายความร้อนจนอุณหภูมิลดลงจึงมีความกดของอากาศเพิ่มขึ้น   ขณะเดียวกันทะเลเริ่มคายความร้อนออกมาช้ากว่าแผ่นดิน  อุณหภูมิของน้ำทะเลจึงลดลงช้ากว่าอุณหภูมิของแผ่นดิน   อากาศเหนือน้ำทะเลจึงมีอุณหภูมิสูงกว่าอากาศเหนือผิวดิน ความกดของอากาศเหนือน้ำทะเลจึงต่ำกว่าความกดของอากาศเหนือแผ่นดินจึงเกิดลมพัดจากแผ่นดินออกสู่ทะเล ลมบกจะมีกำลังอ่อนกว่าลมทะเลเพราะความแตกต่างของอุณหภูมิในเวลากลางคืนระหว่างแผ่นดินและทะเลน้อยกว่าในเวลาวัน   
   (3) ลมภูเขาและลมหุบเขา (Mountain and Valley Breezes) ในเวลากลางวันบริเวณภูเขาและลาดเขาได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์มากกว่าหุบเขา   อากาศในหุบเขาจึงมีอุณหภูมิต่ำกว่า ลาดเขาแต่มีความกดอากาศสูงกว่า   อากาศจึงไหลขึ้นจากหุบเขาไปตามลาดเขาเรียกว่า ลมหุบเขา (Valley Breezes) ในทางกลับกันเวลากลางคืนบริเวณลาดเขาคายความร้อนออกมาเร็ว   อากาศบริเวณลาดเขาจึงมีอุณหภูมิต่ำกว่าบริเวณหุบเขาและมีความกดอากาศสูงกว่า   อากาศจึงไหลลงมาจากลาดเขาสู่หุบเขา เรียกว่า ลมภูเขา (Mountain Breezes) โดยปกติลมภูเขาแรงกว่าลมหุบเขา
   (4) Lee wave (คลื่นด้านอับลม)
   (5) Rotor  clouds (เมฆที่มีลักษณะม้วนตัวเป็นก้อน)
   (6) Anabatic winds (ลมพัดขึ้นตามลาดเขา)
   (7) Katabatic winds (ลมพัดลงตามลาดเขา)   กระแสอากาศที่หนาวเย็นและหนาแน่นโดยไหลลงตามหุบเขาและเคลื่อนตามแนวราบระดับพื้นดิน
    (8) Chinook   winds (ลมชีนุก)อากาศอุ่นและแห้ง ไหลลงตามลาดเขา
    (9) Foehn winds (ลมเฟิน)
    (10) ลมทะเลทราย
    (11) ลมที่ปั่นหมุนเวียน(Dust devils, willy-willy) อากาศที่ดี ในวันที่มีอากาศร้อนใกล้ผิวพื้น มีการพาความร้อนในแนวตั้งใกล้ผิวพื้น
    (12) เกาะที่ร้อนบริเวณชุมชนเมือง (Urban Heat Island ) บริเวณชุมชนเมืองจะแห้งแล้งกว่าบริเวณโดยรอบ
    (13) ลมว่าว ลมจากทิศเหนือ ในฤดูหนาว เป็นต้น
 
อากาศร้อนขึ้นในเวลากลางวัน
บริเวณชนบท : ส่วนของน้ำที่ระเหยจากความร้อนกลายเป็นไอ
บริเวณเขตเมือง :  มีการระเหยเป็นไอน้อย และมีอุณหภูมิสูง
     
อากาศเย็นลงในเวลากลางคืน
  บริเวณเขตเมือง  : มีการกักเก็บความร้อนมากและปลดปล่อยสู่อากาศ
  ลมผสมกับมลพิษปกคลุมพื้นที่กว้าง
   
มวลของอากาศแห่งพื้นดินและน่านน้ำ(Monsoon circulation)
ลมมรสุม (Monsoon   circulation) หรือลมพัดประจำฤดู เกิดจาก      
ความแตกต่างของภูมิภาค
ความแตกต่างของความกดอากาศระหว่างเหนือพื้นดินกับ   พื้นน้ำ
คล้ายลมบกลมทะเล แต่เป็นบริเวณกว้างกว่า
ระยะเวลานานกว่าประมาณครึ่งปีหรือ 6 เดือน
 
มรสุมฤดูร้อน
พัดจากมหาสมุทรเข้าหาทวีป   
ในฤดูร้อน พื้นทวีปได้รับความร้อนจาก ดวงอาทิตย์ มากกว่ามหาสมุทร
อุณหภูมิอากาศบนทวีปสูงมาก ยกตัวขึ้น ลมพัดจากมหาสมุทรเข้าแทนที่ ทำให้เกิดฝน (ความชื้นจากทะเล)aพัดนาน
ประมาณ 61เดือน ราวเดือนเมษายน หรือ พฤษภาคม ถึง ตุลาคม
พัดจากมหาสมุทรเข้าหาทวีป   
  
มรสุมฤดูหนาว
พัดจากทวีปเข้าหามหาสมุทร
ในฤดูหนาว พื้นทวีปลดต่ำลงมากกว่ามหาสมุทร
นำความหนาวเย็นและแห้งแล้งสู่ดินแดนต่างๆ บางแห่งอาจนำฝนมา เช่น ปะทะกับอากาศร้อนชื้นในระยะแรกหรือผ่านน่านน้ำ
พัดนานประมาณ161เดือน ระหว่างเดือน ตุลาคม -มีนาคม
  
ลมมรสุมฤดูร้อนในทวีปเอเชีย
ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
ในฤดูร้อนบริเวณทะเลทรายธาร์ (ตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย)มีอุณหภูมิสูงกว่าเป็นบริเวณกว้างรวมทั้งตอนใต้ของเอเชีย
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียตะวันออกมี อุณหภูมิสูงกว่าเหนือมหาสมุทรอินเดียและทะเลจีน
ทำให้ลมพัดจากมหาสมุทรอินเดียและทะเลจีนเข้าสู่ตอนใต้ของเอเชีย โดยริมฝั่งทะเลอาหรับเกิดเป็นบางครั้ง

ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ

ในฤดูหนาวอุณหภูมิพื้นทวีปเอเชียลดต่ำลงมากกว่าอุณหภูมิ เหนือพื้นทะเลจีนและมหาสมุทรอินเดีย
มีความกดอากาศสูงในทวีปเอเชียตามบริเวณภูเขาและทะเลทราย ส่วนพื้นทะเลและมหาสมุทรมีความกดอากาศ ต่ำกว่าพื้นทวีป
ทำให้ลมพัดจากในกลางทวีปเอเชียออกสู่ทะเลจีน เอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเอเชียใต้
นำความแห้งแล้ง-หนาวเย็นนานประมาณ 6 เดือน บริเวณที่ลมพัดผ่านนานก็เกิดฤดูหนาวนาน บางแห่งพัดช่วงสั้น เช่นประเทศไทย

พายุฟ้าคะนอง (Thunderstorm)
พบบ่อยในเขตร้อน และรุนแรงมากกว่าเขตละติจูดกลางและละติจูดสูง
อยู่ระหว่างละติจูดประมาณ4401องศาเหนือและใต้
มีฟ้าแลบฟ้าร้อง กับมีลมกระโชกแรง และอาจมีฝนตกหนักบางครั้ง อาจตกนานกว่า 2 ชั่วโมง
เกิดบนพื้นดินมากกว่าพื้นน้ำ

ชนิดของพายุฟ้าคะนอง

Single-cellyor air-mass storm
20-30 นาที มี downbursts,   hail(ลูกเห็บ), บางครั้งทำให้มีฝนตกหนักได้   หรืออาจเกิดพายุทอร์นาโด ขนาดเล็กที่มีกำลังอ่อนได้
     
Multicellycluster storm
ประกอบด้วยหลายๆ   cellโดยในแต่ละcell จะมีสถานะหรือช่วงเวลาที่แตกต่างกัน
Multicell   storms   สามารถทำให้เกิดลูกเห็บขนาดกลาง, น้ำท่วมฉับพลัน   น้ำป่าไหลหลาก และ เกิดพายุทอร์นาโด ขนาดเล็กที่มีกำลังอ่อนได้
     
MulticellyLine (squallllline) Storms
 เป็นแนวของพายุฝนฟ้าคะนองที่ต่อเนื่องกัน   (ส่วนมากเป็นแนวตั้ง) มีกระแสลมแรงด้านหน้าของแนว จึงเรียกว่า squalllllinesสามารถทำให้เกิดลูกเห็บขนาดเล็กถึงขนาดกลาง   อาจทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก และ พายุทอร์นาโด   ขนาดเล็กที่มีกำลังอ่อนได้ในบางครั้ง
     
Supercells
พายุฟ้าคะนองขนาดใหญ่   มีการหมุนวนของupdraftส่วน downburstsจะมีกำลังแรงมาก   ทำให้เกิดลูกเห็บขนาดใหญ่ น้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก และ เกิดพายุทอร์นาโด ขนาดเล็กที่มีกำลังอ่อนจนถึงพายุทอร์นาโดขนาดใหญ่ได้
 
พายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อน (Tropical Cyclones) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ ที่สามารถทำความเสียหายได้รุนแรงและเป็นบริเวณกว้างมีลักษณะเด่น คือ มีศูนย์กลางหรือที่เรียกว่า ตาพายุ เป็นบริเวณที่มีลมสงบ อากาศโปร่งใส โดยอาจมีเมฆและฝนบ้างเล็กน้อยล้อมรอบด้วยพื้นที่บริเวณกว้างรัศมีหลายร้อยกิโลเมตร ซึ่งปรากฏฝนตกหนักและพายุลมแรง ลมแรงพัดเวียนเข้าหาศูนย์กลาง
ลักษณะพายุหมุนเขตร้อน
 พายุฝนฟ้าคะนอง
 ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า ฟ้าร้อง
 ลมกระโชกแรง
 ฝนตกหนักเป็นบริเวณกว้าง
 คลื่นลมแรง
  
ปัจจัยที่ทำให้เกิดพายุหมุนเขตร้อน
บริเวณทะเลหรือมหาสมุทรที่พายุก่อตัว มีความลึกอย่างน้อย 50 เมตร
อุณหภูมิน้ำทะเล(SST) อย่างน้อย 26-27 องศาเซลเซียส
Cooling with height (Heat condensation)
Vertical wind shear มีค่าน้อยกว่า 10 m/s
ห่างมากกว่า1200300 กิโลเมตร จากเส้นศูนย์สูตร
ก่อตัวจาก Lowcell หรือ TUTTs
     
การติดตามพายุหมุนเขตร้อน
อุณหภูมิน้ำทะเล
ข้อมูลและภาพถ่ายจากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
แผนที่อากาศ
แผนที่ลมชั้นบน
การวิเคราะห์หาศูนย์กลางและความรุนแรงแบบDvorak technique
การพยากรณ์อากาศเชิงตัวเลข (คอมพิวเตอร์)
     
จำแนกพายุหมุนเขตร้อน
พายุดีเพรสชัน(Tropical Depression) มีความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง ตั้งแต่ 27-34 นอตหรือน้อยกว่า63 กม./ชม.
พายุโซนร้อน(Tropical storm) ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางตั้งแต่ 63 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (34 นอต ) ขึ้นไป แต่ไม่ถึง 118 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (64 นอต)
พายุไต้ฝุ่น(Typhoon) ความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางตั้งแต่ 118 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (64 นอต ) ขึ้นไป

พายุไต้ฝุ่นสามารถเรียกเป็นชื่ออื่นตามแต่ละพื้นที่ใน
มหาสมุทรแปซิฟิกเหนือด้านตะวันตกเรียกว่า ไต้ฝุ่น(Typhoon)”
มหาสมุทรแอตแลนติกเหนือแถวทะเลแคริบเบียนและอ่าวเม็กซิโก เรียกว่า เฮอร์ริเคน(Hurricane)”
มหาสมุทรอินเดียเหนือ เรียกว่า ไซโคลน (Cyclone)
มหาสมุทรแปซิฟิกใต้ ทะเลติมอร์ ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ เรียกว่า วิลลี-วิลลี (Willy-Willy)”
มหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ ในหมู่เกาะฟิลิปปินส์ เรียกว่าบาเกียว (Baguio)”
 
พายุทอร์นาโด (Tornadoes) หรือพายุลมงวง เป็นอากาศร้ายรุนแรงที่สุด ซึ่งเกิดจากพายุฝนฟ้าคะนอง   มีลักษณะเป็นลำเหมือนงวงช้างยื่นออกมาจากฐานเมฆ มีลักษณะการหมุนวนบิดเป็นเกลียวมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ11,000 ฟุต มักจะเกิดในที่ราบกว้างใหญ่ เช่น พื้นที่ราบในทวีปออสเตรเลีย และทางตะวันออกของเทือกเขารอกกี้ในสหรัฐอเมริกาโน

สำหรับประเทศไทยจะมีลักษณะเป็นพายุลมงวงขนาดเล็ก ซึ่งเกิดจากเมฆพายุฝนฟ้าคะนองรุนแรงที่มีฐานเมฆต่ำ และมีกระแสอากาศไหลลงรุนแรง จนเกิดเมฆเป็นลำพวย พุ่งลงมาจนใกล้พื้นดินดูดเอาอากาศ   และเศษวัสดุหมุนวนเป็นลำพุ่งขึ้นไปในอากาศ   ความรุนแรงของลำพวยอากาศนี้สามารถบิดให้ต้นไม้ขนาดใหญ่หักขาดได้ ในขณะที่บ้านเรือนและสิ่งก่อสร้างก็จะได้รับความเสียหายตามแนวที่พายุลมงวงเคลื่อนที่ผ่าน   

นาคเล่นน้ำ (Water spouts) พายุทอร์นาโด (Tornadoes) หรือพายุลมงวงที่เกิดในทะเล

กระแสลมกรด(JetyStream)กระแสลมแรงจัดซึ่งพัดอยู่ในชั้นบน เคลื่อนที่ในลักษณะเป็นลำแคบ ๆและยาวมาก คล้ายกับลำธารของกระแสลม
     
         
ลมอ่อนใกล้กับเส้นศูนย์สูตร (Doldrums)
อยู่บริเวณ lat. 35 N - 5 S ซึ่งมี maximum solar heating
อากาศร้อน ความชื้นสูง มีลมสงบ หรือลมอ่อนแปรปรวน เกิด vertical development clouds ซึ่งเป็นสาเหตุให้เกิด พายุฝนฟ้าคะนอง(thunder storm) และ พายุไซโคลน(cyclone)
อากาศร้อนลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบน แล้วแยกตัวไปทางเหนือ&ใต้ อุณหภูมิลดลง และจมตัวลงบริเวณ horse latitude
เป็นบริเวณที่ลมสินค้าจากเหนือ&ใต้ พัดมาปะทะกัน เรียกว่า inter-tropical convergence zone (ITCZ)

ส่วนประกอบของอากาศ
อากาศเป็นของประสม ประกอบด้วยก๊าซไนโตรเจนประมาณร้อยละ178 ก๊าซออกซิเจนร้อยละ1211ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ร้อยละ10.03 และมีอากาศอื่นๆอีกร้อยละ10.01 นอกจากนี้ยังมี ไอน้ำ ควัน ฝุ่นละออง และ อื่นๆ เป็นของผสม ตามแต่ละพื้นที่
 
ความหนาแน่นของอากาศ
ความหนาแน่นของอากาศ คือ อัตราส่วนระหว่างมวลกับปริมาตร
อากาศเป็นสสาร ดังนั้นจึงมีมวลความหนาแน่นของอากาศแปรผกผันกับความสูงจากระดับน้ำทะเล  คือ ถ้าความสูงจากระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้น
ความหนาแน่นของอากาศมีค่าลดลงซึ่งแสดงว่า บริเวณสูงๆ ขึ้นไปจากระดับน้ำทะเล อากาศจะอยู่เจือจางลง

ความสัมพันธ์ ความดัน ความหนาแน่นและอุณหภูมิของอากาศ
เมื่อเพิ่มความดัน  อากาศจะมีปริมาตรลดลง แต่ถ้าลดความดันให้น้อยลงอากาศจะมีปริมาตรเพิ่มบรรยากาศในที่ระดับสูงขึ้นไป อากาศจะมีความดันน้อยลง และความหนาแน่นของ อากาศก็จะลดน้อยลงด้วย เมื่ออุณหภูมิลดต่ำลงอากาศจะหดตัวมีปริมาตรลดลง มีความหนาแน่นเพิ่มขึ้น แต่เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น อากาศ จะขยายตัวมีปริมาตร เพิ่มขึ้น ความหนาแน่นจะลดลง
     
ลมฟ้าอากาศกับภูมิอากาศ
ลมฟ้าอากาศ คือ สภาวะของอากาศบนพื้นที่ใดๆในช่วงเวลาหนึ่งเกิดขึ้นในระยะเวลาสั้นๆ
ภูมิอากาศ คือ สภาวะโดยทั่วไปของลมฟ้าอากาศบนพื้นที่ใดๆ ในช่วงเวลานาน ๆ ซึ่งพิจารณาจากการตรวจอากาศซ้ำ ๆ กันหลายครั้งเป็นระยะเวลานานประมาณ130 - 35 ปี

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อลักษณะภูมิอากาศ
ที่ตั้ง
ความใกล้ - ไกลทะเล        
ลมประจำที่พัดผ่าน
ขนาด       
ความสูงต่ำของพื้นที่
กระแสน้ำ
            
มวลอากาศ
ความหมายของมวลอากาศ
มวลอากาศ(AiriMass) หมายถึง กลุ่มอากาศขนาดใหญ่ที่ปกคลุมบริเวณกว้างและมีสมบัติในระดับเดียวกันเหมือนกัน   ในมวลอากาศเดียวกัน ณ ระดับวามสูงเดียวกันในวันหนึ่งจะมีอุณหภูมิ ความชื้น   และความกดอากาศเท่ากัน หรือใกล้เคียงกัน
แหล่งกำเนิดมวลอากาศ
พื้นผิวของโลกแต่ละแห่งมีลักษณะและสมบัติทางกายภาพแตกต่างกันไป   บางแห่งร้อน บางแห่งหนาว บางแห่งชื้น บางแห่งแห้งแล้ง ดังนั้น   เมื่ออากาศปกคลุมพื้นผิวโลกบริเวณใดเป็นเวลานาน   อากาศจะมีสมบัติของพื้นผิวบริเวณนั้นจึงถือได้ว่าบริเวณพื้นผิวโลกนั้นเป็นแหล่งกำเนิดของมวลอากาศ
 
ประเภทของมวลอากาศ

จำแนกตามแหล่งกำเนิด
มวลอากาศแถบศูนย์สูตร (Equatorial Air Mass, E)
มวลอากาศเขตร้อน (Tropical Air Mass, T)
มวลอากาศแถบขั้วโลก (Polar Air Mass, P)
มวลอากาศแถบอาร์กติก (Arctic Air Mass, A )
มวลอากาศแถบแอนตาร์กติก(Antarctic Air Mass, AA )
     
จำแนกประเภทของมวลอากาศตามแหล่งกำเนิดเมื่อนำมาพิจารณาร่วมกับอุณหภูมิและความชื้น พบว่า
มวลอากาศเขตร้อนมีอุณหภูมิสูง
มวลอากาศขั้วโลกมีอุณหภูมิต่ำ
มวลอากาศน่านน้ำมีความชื้นสูง
มวลอากาศแบบภาคพื้นทวีปมีความชื้นค่อนข้างต่ำ
 
มวลอากาศที่มีอิทธิพลมากในประเทศไทย ประกอบด้วย
มวลอากาศร้อนชื้นมาก(mE)จากอ่าวไทยในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายนโดยอิทธิพลของลมใต้
มวลอากาศร้อนชื้นมาก(mE)จากมหาสมุทรอินเดียในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนสิงหาคมโดยอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
มวลอากาศร้อนชื้นจากทะเลจีน(mT)ในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคมโดยอิทธิพลของลมตะวันตกเฉียงใต้และลมตะวันออกที่พัด
สอบเข้าสู่ ร่องความกดอากาศต่ำและพายุหมุนเขตร้อน
มวลอากาศเย็นแห้งจากจีนและไซบีเรีย (cP)โดยอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
             
การพยากรณ์อากาศ
        การพยากรณ์อากาศ (Weather Forecast)หมายถึง การคาดหมายสภาพลมฟ้าอากาศในอนาคต   การที่จะพยากรณ์อากาศได้ต้องมีองค์ประกอบ 3 ประการ คือ
      ความรู้ความเข้าใจในปรากฏการณ์และกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในบรรยากาศ
     สภาวะอากาศปัจจุบัน
      ความสามารถในการบูรณาการองค์ประกอบทั้งสองข้างต้นเข้าด้วยกัน เพื่อคาดหมายการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

ฤดูกาลในประเทศไทย
ฤดูหนาว(ตุลาคม –กุมภาพันธ์)
สาเหตุ
 แนวแกนของโลกด้านเหนือเบนออกห่างจากดวงอาทิตย์ ทำให้ได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์น้อยลง
 ความกดอากาศสูงหรือมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนเคลื่อนลงมาปกคลุม ประเทศไทย
 
ฤดูร้อน(มีนาคม – เมษายน)
สาเหตุ
โลกเคลื่อนที่เข้าใกล้ดวงอาทิตย์
ประเทศไทยทำมุมตั้งฉากกับดวงอาทิตย์พอดี (เนื่องจากเราอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตรมาก)
 
ฤดูฝน (พฤษภาคม – ตุลาคม)
สาเหตุ
มรสุมตะวันตกเฉียงใต้
ร่องความกดอากาศต่ำหรือร่องมรสุม หรือแนว ITCZ ( InteryTropical Convergence Zone)
พายุหมุนเขตร้อน
หย่อมความกดอากาศต่ำ
การเปลี่ยนแปลงความกดอากาศอย่างรวดเร็ว
แนวปะทะอากาศ
การยกตัวของอากาศ
ลมประจำถิ่น
พายุฤดูร้อน
มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ หรือลมหนาว(เกิดฤดูฝนภาคใต้ของประเทศไทย)
   
การตรวจอากาศ
 การตรวจอากาศผิวพื้น
การตรวจอากาศผิวพื้น คือ การตรวจสารประกอบอุตุนิยมวิทยาต่าง ๆ ในระดับผิวพื้น   สูงขึ้นไปจากพื้นดินไม่เกิน 10 เมตร โดยทำการตรวจทุก 3 ชั่วโมง รวม181ครั้ง/วัน คือ เวลา 01:00, 04:00, 07:00, 10:00, 13:00, 16:00, 19:00, 22:00น.(ตามเวลาในประเทศไทย) การตรวจสามารถทำได้121แบบ   คือ
การตรวจด้วยเครื่องมือ จะตรวจวัดความกดอากาศ อุณหภูมิของอากาศความชื้นสัมพัทธ์ ลมผิวพื้น ปริมาณน้ำฝน   การระเหยน้ำ อุณหภูมิใต้ดินระยะยาวนานของแสงแดด
การตรวจวัดด้วยสายตา จะตรวจวัดลักษณะท้องฟ้า จำนวนและชนิดเมฆ ความสูงฐานเมฆ ทัศนวิสัย   ลักษณะคลื่นทะเล ฟ้าคะนอง ฟ้าแลบ ฝนตกระยะไกล ฟ้าหลัว
 
ข้อมูลที่ตรวจวัดมีดังนี้
1.  การตรวจวัดอุณหภูมิอากาศ ใช้ เทอร์โมมิเตอร์ กระเปาะแห้ง
2. การตรวจวัดอุณหภูมิอากาศสูงสุด-ต่ำสุด ใช้ เทอร์โมมิเตอร์ กระเปาะแห้ง
3. การตรวจอุณหภูมิดินใช้ เทอร์โมมิเตอร์
4. การตรวจอุณหภูมิต่ำสุดยอดหญ้า  ใช้ เทอร์โมมิเตอร์
5. การตรวจวัดความกดอากาศ  ใช้  บาโรมิเตอร์
6. การตรวจวัดความชื้นสัมพัทธ์ ใช้  เทอร์โมมิเตอร์ กระเปาะแห้ง-เปียก
7.  การตรวจวัดลมผิวพื้น ใช้  ศรลม, อะนิโมมิเตอร์, แอโรแวน  
8. การตรวจวัดฝน  ใช้   กระบอกรองน้ำฝนและกระบอกตวง
9. การตรวจวัดเมฆ  ใช้    ประมาณด้วยสายตา
10. การตรวจวัดน้ำค้าง   ใช้  ตามวิธี ของ ดูดีวานี
11.การระเหยของน้ำ   ใช้ ถาดระเหย
12. การตรวจวัดทัศนะวิสัย ใช้  ประมาณด้วยสายตา
13. การตรวจวัดความยาวนานของแสงแดด ใช้   เครื่องวัดแสงแดดแบบแคมป์เบลสโตกส์
14. เครื่องวัดรังสีจากดวงอาทิตย์   ใช้   ไพราโนมิเตอร์
15. การตรวจวัดการระเหยของน้ำ ใช้   เครื่องวัดน้ำระเหยแบบถาด
16. การตรวจลักษณะลมฟ้าอากาศ ใช้  ประมาณด้วยสายตา หู (ปรากฏการณ์ธรรมชาติ)
   ผลการตรวจจะถูกจัดเก็บและส่งต่อให้ทั่วโลกในรูปแบบรหัสตาม องค์การอุตุนิยมโลกได้กำหนด
 
การตรวจอากาศชั้นบน
เครื่องวิทยุหยั่งอากาศเป็นเครื่องส่งวิทยุขนาดเล็ก เรียกว่า radiosonde บรรจุภายในกล่อง พร้อมเครื่องมือวัดความกดอากาศอุณหภูมิ ความเร็วและทิศทางลม และ์ ความชื้นสัมพัทธ์ แล้วผูกติดกับบอลลูนปล่อยขึ้นไปในอากาศ radionsode จะส่งข้อมูล มาที่ภาคพื้น
สถานีตรวจอากาศชั้นบน มีอยู่141แห่งในประเทศไทย คือ กรุงเทพฯ, เชียงใหม่, อุบลราชธานี และ สงขลา นครนายก ราชบุรี ศรีสะเกษ อำนาจฯ
เรดาร์ทำงานโดยปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ออกไปกระทบวัตถุ แล้วสะท้อนกลับมายังเครื่องรับ มีประโยชน์ในการตรวจหาพื้นที่ของฝนที่กำลังตก ทราบความเร็วและทิศทางการเคลื่อนที่ของกลุ่มฝน
ดาวเทียมมีประโยชน์ในการติดตามการเคลื่อนตัว ความรุนแรง และความเร็วลมของพายุหมุนเขตร้อน การเปลี่ยนตำแหน่ง จำนวนและชนิดของเมฆ เป็นต้น

การที่จะพยากรณ์อากาศในบริเวณใดบริเวณหนึ่งต้องใช้ข้อมูลผลการตรวจอากาศในบริเวณนั้นร่วมกับผลการตรวจอากาศจากบริเวณที่อยู่โดยรอบ   เพราะปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในบรรยากาศมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้ได้ข้อมูลเพียงพอสำหรับการพยากรณ์อากาศ@
           
มลพิษทางอากาศ
สรุปสาระสำคัญ มีดังนี้
สาเหตุหลักของปัญหาสิ่งแวดล้อมมีอยู่825ประการด้วยกัน คือ
       1. การเพิ่มของประชากร (population growth)   จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นทำให้ความต้องการด้านการบริโภคทรัพยากรมากขึ้น เช่น ด้านอาหาร ที่อยู่อาศัย และพลังงาน
      2. การขยายตัวทางเศรษฐกิจและความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี(economic growth & technological progress)ความเจริญทางเศรษฐกิจนั้นทำให้มาตรฐานในการดำรงชีวิตสูงขึ้นทำให้ความจำเป็นขั้นพื้นฐานของชีวิต มีความจำเป็นต้องใช้พลังงานมากขึ้นตามไปด้วย ขณะเดียวกันความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีช่วยให้ผลผลิตสูงขึ้น สามารถนำทรัพยากรมาใช้ได้ง่ายขึ้นและมาก จึงอาจมีการปล่อยของเสียทั้งในรูปสสาร   พลังงาน ความร้อนออกสู่สิ่งแวดล้อมซึ่งก่อให้เกิดปัญหามลพิษตามมา

ใกล้ผิวพื้น มลพิษปฐมภูมิ (Primaryoairipollutants) ที่สำคัญอย่างเช่น particulatematter, iCO, SO2,NO,iNO2, and VOCs เข้าสู่บรรยากาศโดยตรง ส่วนรูปแบบมลพิษทุติยภูมิ (secondaryoairipollutants) อย่างเช่น O3 เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาเคมี ระหว่างมลพิษปฐมภูมิและส่วนอื่นของอากาศ
คำว่า “smog” หรือหมอกควัน ประดิษฐ์ขึ้นในต้นศตวรรษที่ 1900s โดยการรวมคำ smoke +fog ในอดีตเกิดจากการผสมกันระหว่าง-ควันกับ SO2 จากการเผาไหม้ถ่านหิน ปัจจุบันมีความหมายถึงหมอกควันแบบโฟโตเคมีคัล ที่มักเกิดจากการเผาไหม้ของเครื่องยนต์และควันจากโรงงานอุตสาหกรรมและทำปฏิกิริยากับแสงแดด
โอโซนในสตราโตสเฟียร์เกิดจากขบวนการทางธรรมชาติในบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์ และมีบทบาทป้องกันรังสื UV ที่เป็นอันตราย ขณะที่โอโซนในโทรโพสเฟียร์หรือโอโซนผิวพื้น (ground-level) ซึ่งเกิดจากอากาศที่มีมลพิษเป็นอันตรายต่อสุขภาพ และเป็นจุดกำเนิด photochemical smog
สารเคมีที่สังเคราะห์โดยมนุษย์ เช่น CFCsได้เปลี่ยนแปลงปริมาณโอโซนในบรรยากาศสตราโตสเฟียร์ โดยการปล่อยคลอรีน ซึ่งทำลายโอโซนอย่างรวดเร็ว
  
เอลนีโญและลานีนญา
เอลนีโญ (El Niño) ที่ปรากฏอุ่นขึ้นผิดปกติของผิวน้ำทะเลเป็นระยะๆ ตามชายฝั่งประเทศเปรูและเอกวาดอร์ เวียนเกิดซ้ำแต่ช่วงเวลาไม่สม่ำเสมอ   ทำให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศวิทยาชายฝั่ง
ผลกระทบฝั่งตะวันออกมหาสมุทรแปซิกฟิก
1.การอุ่นขึ้นผิดปกติของผิวน้ำทะเล
2.กระแสน้ำอุ่นที่ไหลลงทางใต้ตามชายฝั่งประเทศเอกวาดอร์ และเปรู (บางครั้งประเทศชิลี)
3.กระแสน้ำเย็นใต้มหาสมุทรไม่สามารถลอยตัวขึ้นมาได้ ส่งผลกระทบให้บริเวณชายฝั่งขาดธาตุอาหารสำหรับปลาและนกทะเลชาวประมงจึงขาดรายได้
4.ฝนตกหนักและน้ำท่วมในตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้
     
ผลกระทบฝั่งตะวันตกมหาสมุทรแปซิกฟิก
1.เกิดความแห้งแล้งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และออสเตรเลียตอนเหนือ
2.เกิดไฟป่าอย่างรุนแรงในประเทศอินโดนีเซีย

ลานินญา(La Nina) คือ กระแสน้ำเย็นเปรู จะไหลกลับมาในทิศทางเดิม เป็นปรากฏการณ์ที่มีลักษณะตรงข้ามกับเอลนีโญ
ผลกระทบฝั่งตะวันออกมหาสมุทรแปซิกฟิก
1.เกิดความแห้งแล้งในตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้
2.กระแสน้ำเย็นใต้มหาสมุทรยกตัวขึ้นประเทศเอกวาดอร์ และเปรู
3.กระแสน้ำเย็นใต้มหาสมุทรยกตัวขึ้นแทนที่กระแสน้ำอุ่นบริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกทางซีกตะวันออกทำให้เกิดธาตุอาหารและฝูงปลาชุกชุม
     
ผลกระทบฝั่งตะวันตกมหาสมุทรแปซิกฟิก
1.การอุ่นขึ้นของผิวน้ำทะเลฝั่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
2.ฝนตกหนักและน้ำท่วมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ทั้งเอลนีโญและลานีนญาเกิดจากความผกผันของกระแสอากาศโลกบริเวณเส้นศูนย์สูตรเหนือมหาสมุทรแปซิฟิกส์ซึ่งยังไม่สามารถระบุสาเหตุที่แน่ชัด ยังส่งกระทบต่อภูมิภาคอื่นๆด้วย

สรุปความรู้เกี่ยวกับแผ่นดินไหว(Seismology)
สำนักเฝ้าระวังแผ่นดินไหว เป็นหน่วยงานหนึ่งของกรมอุตุนิยมวิทยาในประเทศไทย มีภาระกิจสำคัญคือ
1.ปฏิบัติงานเฝ้าระวังแผ่นดินไหวและสึนามิตลอด5245ชั่วโมง
2. บำรุงรักษาระบบตรวจวัดแผ่นดินไหว
3. รวบรวมข้อมูลสถิติแผ่นดินไหว
4. ทำหน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติ
5. ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับแผ่นดินไหว
6. เผยแผ่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับแผ่นดินไหวและสึนามิให้แก่ประชาชน  ออกประกาศแผ่นดินไหวที่รู้สึกได้ในประเทศไทย
7.  ให้ความร่วมมือในด้านแผ่นดินไหวกับต่างประเทศ
แผ่นดินไหว  เป็นการสั่นสะเทือนของพื้นดิน มีสาเหตุจากพลังงานความร้อนภายในโลกทำให้เกิดแรงเครียดสะสมจนทำให้ชั้นหินแตกหัก   และแรงเครียดสะสมนี้จะปลดปล่อยพลังงานออกมา โดยส่งต่อพลังงานไปยังพื้นผิวโลกในรูปของแผ่นดินไหว   
คลื่นไหวสะเทือน (seismic wave) เป็นคลื่นที่ถ่ายทอดพลังงานผ่านภายในโลก อาจเกิดจากแผ่นดินไหว แบ่งตามลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่นได้สองประเภทได้ แก่คลื่นตัวกลาง (Body wave) และคลื่นพื้นผิว(Surface wave)
 
สาเหตุแผ่นดินไหวมาจาก 2   สาเหตุใหญ่
1. เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ได้แก่ การทดลองระเบิดปรมาณู การกักเก็บน้ำในเขื่อน และแรงระเบิดจากการทำเหมืองแร่ระดับลึก   สร้างอ่างเก็บน้ำหรือเขื่อนใกล้รอยเลื่อน การทำงานของเครื่องจักรกล การจราจร ต้นไม้ใหญ่ล้ม ตึกถล่ม รวมถึงการเก็บขยะนิวเคลียร์ไว้ใต้ดิน เป็นต้น
2. เกิดตามธรรมชาติอันเนื่องมาจาก การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก ซึ่งเป็นสาเหตุหลัก อุกาบาต

ขนาดแผ่นดินไหว วัดจากการตรวจวัดด้วยเครื่องมือ ไซส์โมกราฟ(Seismographs) แสดงถึงค่าซึ่งสัมพันธ์กับพลังงานความสั่นสะเทือน ณ ตำแหน่งศูนย์กลาง แผ่นดินไหว มีหน่วย เป็น ริคเตอร์
ความรุนแรงแผ่นดินไหว  วัดโดยการเปรียบเทียบกับลักษณะ  ความรู้สึกสั่นสะเทือน  การเคลื่อนที่ของวัตถุ  ความเสียหายกับสิ่งก่อสร้าง ต่างๆ  การเปลี่ยนแปลงกายภาพของพื้นดิน  ณ บริเวณที่ พิจารณา ปกติบริเวณใกล้ศูนย์กลางจะมีความรุนแรงสูงสุด สำหรับประเทศไทยใช้มาตราวัดอันดับความรุนแรงแบบ เมอร์แคลลี  
รอยเลื่อนมีพลังเป็นแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวและมีการเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลก(tectonic  movements)
รอยเลื่อนมีพลัง เป็นรอยเลื่อนที่มีการเคลื่อนตัว(displacement) หรือ มีแผ่นดินไหว (seismic activity) ในปัจจุบัน
มีกลุ่มรอยเลื่อนมีพลังหลายกลุ่ม สังเกตจาก การเกิดแผ่นดินไหว และการขุดร่องสำรวจและวิเคราะห์ หาคาบอุบัติซ้ำ
มีรอยเลื่อนที่พาดผ่านชุมชน หมู่บ้าน จำนวนมาก แต่ยังไม่มีการศึกษาให้ทราบลักษณะที่แท้จริงว่าเป็นรอยเลื่อนมีพลัง และมีความเสี่ยงในการเกิดภัยแผ่นดินไหวขนาดใด ขาดข้อมูลที่เพียงพอในการตัดสินใจ
มีการจัดทำแผนที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว เพื่องานวิศวกรรมแผ่นดินไหวโดยใช้ข้อมูลแผ่นดินไหว   และรอยเลื่อนมีพลังที่ทำการสำรวจ วิเคราะห์
รอยเลื่อนทุกรอยที่ปรากฏในแผนที่ อาจไม่ใช่รอยเลื่อนมีพลัง และอาจเป็นรอยเลื่อนมีพลัง
แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวภายนอกประเทศจากแนวแผ่นดินไหวของโลกบริเวณทะเลอันดามัน  สุมาตรา รอยเลื่อนในพม่า   รอยเลื่อนจากตอนใต้ของจีน    รอยเลื่อนในประเทศลาว รอยเลื่อนในเวียดนาม
แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวภายในประเทศ จากรอยเลื่อนมีพลัง ส่วนใหญ่ บริเวณภาคเหนือ ภาคตะวันตก  ภาคใต้
ภัยแผ่นดินไหวทำให้เกิดภัยอื่น เช่น แผ่นดินถล่ม ทั้งบนบกและใต้น้ำ สึนามิ ไฟไหม้ การระเบิด ดินมีสภาพเหลว หลุมยุบ น้ำท่วม
     
         
สรุปความรู้อุตุนิยมวิทยาทางทะเล
อุตุนิยมทางทะเล   เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาให้เกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับทะเลหรือมหาสมุทรเพื่อช่วยการคาดการณ์ปรากฏการณ์ต่างที่เกิดขึ้นในทะเลหรือมหาสมุทร
สาเหตุของการเกิดคลื่น  คลื่นอาจเกิดขึ้นได้จากสาเหตุดังต่อไปนี้
1.ลม
2.แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินใต้น้ำถล่ม
3.แรงดึงดูดจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์
4.การเปลี่ยนแปลงความกดดันอากาศ
5.ข้อแตกต่างของความหนาแน่นระหว่างมวลน้ำชั้นบนและล่าง
6.เมื่อกระแสน้ำไหลผ่านพื้นท้องทะเลซึ่งไม่เรียบ

ส่วนประกอบของคลื่น
ส่วนที่สูงที่สุดของคลื่น(crest)ต่อไปนี้เรียกว่า ยอดคลื่น
ส่วนที่ต่ำที่สุดของคลื่น (trough)ต่อไปนี้เรียกว่า ท้องคลื่น
ระยะทางในแนวดิ่งระหว่างยอดคลื่นกับท้องคลื่น เป็นความสูงของคลื่น (wave height = H)
คลื่นพายุซัดฝั่ง "Storm Surge" คือการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลแบบผิดปกติใกล้ชายฝั่งซึ่งสัมพันธ์กับระบบความกดอากาศต่ำของอากาศและลมพัดแรง
      
  ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดคลื่นพายุซัดฝั่ง   คือ
1.   ความกดอากาศบริเวณศูนย์กลางของพายุต้องต่ำมาก (น้อยกว่า1900 เฮกโตปาสคาล)
2.   ขนาดของพายุหมุนเขตร้อน
3.   ความเร็วของการเคลื่อนตัวของพายุหมุนเขตร้อน
4.   เส้นทางเดินพายุหมุนเขตร้อน(หน้าขวาของแนวการเคลื่อนที่ของพายุคลื่นลมจะแรงที่สุด)
5.   ความเร็วลมที่พัดวนในตัวพายุหมุนเขตร้อน (อย่างน้อย 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)
 
ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดคลื่นพายุซัดฝั่งรุนแรง
ความกดอากาศต่ำมากๆ
คลื่น
ทิศทางลมที่พัดปกคลุม
ฝนตกหนัก
การหมุนของโลก
        
  ลักษณะของการเกิดคลื่นพายุซัดฝั่ง
ระดับน้ำทะเลที่ยกตัวสูงขึ้นนี้ อาจสูงจากระดับผิวหน้าน้ำทะเลป่นกลาง ประมาณ12- 5 เมตร
เกิดพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนตัวเข้าใกล้ฝั่ง   
พื้นที่ลุ่มต่ำจะเกิดน้ำท่วม   
ทางหน้าขวาของศูนย์กลางพายุหมุนเขตร้อน จะเกิดโดมน้ำสูงหรือที่เราเรียกคลื่นซัดฝั่งเนื่องจากลมที่แรงมาก
จะเห็นเป็นโดมน้ำ หรือระดับน้ำที่ยกตัวสูงเนื่องจากอิทธิพลของพายุหมุนเขตร้อน

คลื่นใต้น้ำ(Swell) คือคลื่นลูกย่อมๆ เคลื่อนตัวเนิบๆ ช่วยหอบเอาเม็ดทรายที่ตกทับถมจากสันดอนใต้น้ำขึ้นมาสร้างหาดทราย
แรงไทดัล(Tidal)เมื่อดาวดวงหนึ่งได้รับอิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงจากดาวอีกดวงหนึ่ง
 
น้ำขึ้น-น้ำลง เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นจากความแตกต่างของแรงโน้มถ่วงของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ที่กระทำต่อมวลนาบนผิวโลก
น้ำจะสูงขึ้นกว่าปกติ เรียกว่า น้ำเกิด (spring tide) และ
น้ำอยู่ในระดับเดิม ไม่ขึ้นไม่ลง เรียกว่า น้ำตาย (neap tide)
คลื่นใต้น้ำ (tsunami waves)คลื่นสึนามิ เป็นภาษาญี่ปุ่น (tsunami)มีความหมายว่าคลื่นขนาดใหญ่ (big waves)เขียนเป็นภาษาอังกฤษโดยคนอเมริกันว่า tsunami หรือ tsunamis ก่อนปี 1950โดยประมาณ
คลื่น สึนามิ คือ กลุ่มคลื่นน้ำที่เกิดขึ้นจากการย้ายที่ของปริมาตรน้ำก้อนใหญ่ คือ   มหาสมุทรหรือทะเลสาบขนาดใหญ่ แผ่นดินไหว การปะทุของภูเขาไฟและการระเบิดใต้น้ำอื่น (รวมทั้งการจุดระเบิดวัตถุระเบิดนิวเคลียร์ใต้น้ำ) ดินถล่ม ธารน้ำแข็งไถล อุกกาบาตตกและการรบกวนอื่น ไม่ว่าเหนือหรือใต้น้ำล้วนอาจก่อให้เกิดเป็นคลื่นสึนามิได้ทั้งสิ้น
     
Back to content